โครงการปรับปรุงคลองธรรมชาติ ทางระบายน้ํา ประตูระบายน้ํา

และสถานีสูบน้ําในพื้นที่บางพลวง

ข้อมูลโครงการ

วัตถุประสงค์ของโครงการ

กรมชลประทาน มีความประสงค์ให้ผู้ให้บริการจ้างออกแบบ ทำการสำรวจ ออกแบบ โครงการปรับรับรุงคลองธรรมชาติ ทางระบายน้ำ ประตู ระบายน้ำและสถานีสูบน้ำในพื้นที่บางพลวง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการน้ำ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้งไม แม่น้ำปราจีนบุรีและแม่น้ำสาสาขา จังหวัดปราจีนบุรี และเป็นองค์ประกอบในการบริหารจัดการน้ำ ในพื้นที่บางพลวง โดยทำการปรับปรุงและชุด ลอกคลองส่งน้ำ ปรับปรุงประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ประประตูระบายน้ำ'ท่อลอดเหลี่ยม สร้างสถานีสูบน้ำแบบ 2 ทาง และสร้างประประตระบาย น้ำวัดไผ่ขวาง

สภาพภูมิประเทศของพื้นที่โครงการบางหลวง เป็นพื้นที่ลืมขนาตใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำปราจีนบุรีและแม่น้ำบางปะกง มีพื้นที่โครงการกว่า 4973 โดยมี อ.เมืองปราจีนบุรี และ อ.บ้านสร้าง ตั้งอยู่ที่บริเวณของพื้นที่ริมแม่น้ำปราจีนบุรี ปัจจจับจัดเป็นพื้นที่รับน้ำขนาดใหญ่ที่สำคัญที่มีที่มีที่มีผอ การบริหารจัดการน้ำในพื้นที่สุมน้ำ บางปะกกร-ปราจีนบุรี โดยทั่วในช่วงดูน้ำหลากจะมีปริมานน้ำทั้งจากฝนในพื้นที่และละจากแม่น้ำปราจีนบุรี ส่วนหนึ่งที่ไหลลันข้ามถนนคันกั้นนั้งซ้ายเข้าท่วมขังในพื้นที่เป็นประจำเกือบทุกปี โดยทั่วไปมีระยะเวลาในการท่วมขังประมาณ 1 เดือน ขึ้นอยู่ กับปริมานน้ำในพื้นที่รามถึงประสิทธิภาพของการระบายน้ำออก ขอบเขตพื้นที่น้ำท่วมและผลการวิเคราะห์ความมีในการมน้ำท่วมในพื้นพื้นที่ โครงการบางพลวง

พื้นที่ใครงการบางพลวงแบ่งโซนสำหรับบริหารจัดการน้ำหลากเป็น 3โซน โดยมีคันกั้นน้ำริมแม่น้ำน้ำน้ำปราจีนบุรี และแม่น้ำบางปะกง รวมทั้งถนน สายสำคัญในพื้นที่ได้แก่ ทางหลวงหมายเลข 319 และ 3347 ทำหน้าที่ในการแบ่งกั้นโซน

Chania

วัตถุประสงค์ที่สําคัญของโครงการ

   เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการน้ำเพื่อบรรเทาน้ำท่วมขังในพื้นที่เป็นประจำเกือบทุกปี

   เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำตันทุนในพื้นที่สามารถนำไปใช้แทนน้ำต้นทุนจากอ่างๆ การผลักดันน้ำเค็ม และน้ำใช้ในประโยชน์ด้านอื่นๆ เพียงพอต่อ การบรรเทาปัญหาภัยแล้งและขาดแคลนน้ำ

   เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของราษฎรที่อยู่ในเขตพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียง ตามนโยบาย

   ลดปัญหาการย้ายถิ่นฐานของราษฎร โดยการส่งเสริมให้ราษฎรในท้องถิ่นมีอาชีพการเกษตรกรรมที่มั่นคง

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

โครงการปรับปรุงคลองธรรมชาติ ทางระบายน้ำ ประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำในพื้นที่บางพลวง

เป็นองค์ประกอบในการบริหารจัดการน้ำ ในพื้นที่อําเภอเมืองปราจีนบุรี และอําเภอบ้านสร้าง

มีรายละเอียดองค์ประกอบโครงการ ดังต่อไปนี้

1. ปรับปรุงและขุดลอกคลองส่งน้ํา

รวม 8 สาย โดยทําการขุดลอกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการระบายน้ำ รวมทั้งบริเวณทั่วไปที่มีปัญหาทับถมของตะกอน โดยไม่เวนคืน พื้นที่ด้านข้างประกอบไปด้วย

   คลองหาดยาง ยาวไม่น้อยกว่า 27.50 กม.

   คลองบางพลวง ยาวไม่น้อยกว่า 20.90 กม.

   คลองชวดอ้ายตาด ยาวไม่น้อยกว่า 10.80 กม.

   คลองไผ่ชะเลือด ยาวไม่น้อยกว่า 15.80 กม.

   คลองบางกระดาน ยาวไม่น้อยกว่า 10.50 กม.

   คลองบางกระเจ็ด ยาวไม่น้อยกว่า 11.20 กม.

   คลองคูมอญ ยาวไม่น้อยกว่า 19.80 กม.

   คลองหัวกรด ยาวไม่น้อยกว่า 14.30 กม.

2. ปรับปรุงประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรับน้ำเข้าพื้นที่โดยปรับปรุงประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ อาคารหลัก 3 แห่ง ได้แก่ ประตูระบายน้ำ หาดยาง ประตูระบายน้ำบางพลวง ประตูระบายน้ำทอทอง และปรับปรงคลองหาดยาง ความยาวประมาณ 0.3 กิโลเมตร

3. ประตูระบายน้ำ/ท่อลอดเหลี่ยม

เพื่อเป็นอาคารควบคุมน้ำในแต่ละโซนตามแนวถนนคั้นกั้นกั้นน้ำหมายเลข 319, 3347 และ 3070 จำนวนประมาณ 18 แห่ง (ไม่รวมอาคาร ท่อลอดขนาดเล็กต่าง ๆ) ประตูระบายน้ำกลางคลองพลวง จ้านวนไม่น้อยกว่า 1 แห่ง เพื่อการบริหารจัดการน้ำ บริเวณท้ายจุดบรรจบ คลองบางพลวงและคลองสนามพลี

4. สร้างสถานีสูบน้ำแบบ 2 ทาง

(1) ประตูระบายน้ำคลองบางแตน

(2) ประตูระบายน้ำคลองบางเขียด

(3) ประตูระบายน้ำคลองบางกระดาน

(4) ประตูระบายน้ำคลองบางกระเจ็ด

(5) ประตูระบายน้ำคลองคูมอญ

พร้อมปรับปรุงคลองคูมอญด้านท้ายเป็นคลองขุดใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำลงแม่น้ำบางปะกง โดยมีความยาวไม่น้อยกว่า 530 เมตร

5. สร้างประตูระบายน้ำวัดไผ่ขวาง กั้นคลองท่าลาด

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาทการระบายน้ำรวมระยะทางไม่น้อยกว่า 6.50 ก็ไลเมตร

6. ผลประโยชน์

(1)    ผลประโยชน์ทางตรง รวม 412.34 ล้านบาท

(ด้านการชลประทาน 353.443 ล้านบาท และด้านบรรเทาอุทกภัย 58.90 ล้านบาท/ปี)

(2)    ผลประโยชน์ทางอ้อม รวม 68.14 ล้านบาท

(มูลค่าการใช้น้ำอุปโภค-บริโภคในฤดูแล้ง 0.09 ล้านบาท และมูลค่าน้ำที่ใช้ผลักดันน้ำเค็ม 68.05 ล้านบาท)

(3)    ผลประโยชน์ตำนการบรรเหาอุทกภัย ช่วยให้การระบายน้ำในพื้นที่ดีขึ้น

(4)    ผลประโยชน์ด้านการขาดแคลนน้ำ และรกตัวของน้ำเค็ม

ช่วยการกักเก็บน้ำในพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากเป็นการชั่วคราว ในช่วงเดือนพฤศจิกายน และธันวาคม มีปริมาณ 270 ล้าน ลบ.ม. สามารถใช้น้ำแทนการใช้น้ำจากอ่างเก็บน้ำตอนบนนบน ช่วยให้น้ำในอ่างๆตอนบนค้านต้นต้นนำ มีปริมาณนำเหลือใช้ในช่วงแล้งเพิ่มมาก

แผนที่แสดงที่ตั้งโครงการ

ระยะเวลาดำเนินการ

โครงการปรับปรุงคลองธรรมชาติ ทางระบายน้ำ ประตูระบายน้ําและสถานีสูบน้ําในพื้นที่บางพลวง
การดําเนินงานกําหนดให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 450 วัน
นับจากวันเริ่มปฏิบัติงาน 1 ตุลาคม 2567 สิ้นสุดสัญญา 24 ธันวาคม 2568